สื่อกระบวนการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนไผทอุดมศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2548
Photo Gallery
คืนสมดุลสู่ธรรมชาติ
แผนการสอน
Pre-Test
ผังความรู้
แผนที่

Post-Test

คืนไม้สู่ป่า
คืนน้ำสู่ฟ้า
ตอบแทนพสุธา
ด้วยใจรักษ์
Big Green Bus
กิจกรรมฟ้ายังมีฟ้า
กิจกรรมที่ 1: การศึกษาภาวะเรือนกระจก
กิจกรรมที่ 2: ภัยพิบัติจากสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมที่ 3: การสร้างแบบจำลองภาวะเรือนกระจก
กิจกรรมที่ 4 :ถ่ายทอดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านห้องเรียนสีเขียวสู่น้อง
     ปรากฏการณ์เรือนกระจก
การเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก หรือสภาวะเรือนกระจก (Greenhouse Effect) หมายถึง การที่ก๊าซหลายชนิด ซึ่งส่วนใหญ่ ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซมีเทน ก๊าซไนตรัสออกไซด์ ก๊าซคลอโรฟลูออโรคาร์บอน ก๊าซคาร์บอนเตตระคลอไรด์ ก๊าซเมทิลคลอโรฟอร์ม และก๊าซโอโซนในชั้นโทรโปสเฟียร์สะสมอยู่ตามบรรยากาศเป็นชั้นบางๆ ในระดับความสูงประมาณ 25 กิโลเมตร และจะทำหน้าที่เก็บความร้อนคล้ายกับเรือนกระจกปลูกต้นไม้ในเขตเมืองหนาว โดยแสงแดด หรือรังสีความร้อนซึ่งเป็นรังสีคลื่นสั้นแต่ความถี่สูง จะส่องผ่านชั้นก๊าซนี้ไปยังพื้นโลกได้ทำให้สิ่งต่างๆ บนโลกร้อนขึ้น จากนั้นก็จะแผ่รังสีคลื่นยาวออกมา เพราะวัตถุตามพื้นโลกมีอุณหภูมิต่ำ แต่รังสีคลื่นยาวมีความถี่ต่ำจึงอาจส่องผ่านชั้นก๊าซออกไปได้ ทำให้อุณหภูมิของบรรยากาศร้อนขึ้น
ภาพจำลองการเกิด Greenhouse Effect 1
ภาพจำลองการเกิด Greenhouse Effect 2
ที่มา : สวัสดิ์ โนนสูง.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2543




Farmers Market
Web Link

ประเภทของป่าไม้

ทรัพยากรป่าไม้

ป่าไม้

Greenhouse Effect

Greenhouse Effect Model

ข้อมูลภัยพิบัติจากธรรมชาติ

กรมอุตุนิยมวิทยา
กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม