|
|
|
|
ปางบูรำคำบูราณขนานนาม
|
|
ราชครามเกาะใหญ่เป็นไพรสนฑ์
|
|
|
|
|
|
ถึงย่านหนึ่งน้ำเซาะเป็นเกาะกลาง
|
|
|
ภาพนี้คือ เกาะใหญ่
ส่วนฝั่งตรงข้ามคือ ราชคาม
|
|
|
ทางแยกที่ปรากฏเรือกำลังแล่นคือ
สีกุก
|
|
จากตอนนี้แสดงให้เห็นว่าสุนทรภู่เป็นคนช่างสังเกตและช่างเปรียบเทียบซึ่งท่านเห็นทางน้ำแยก
เป็นสองแควท่านจึงผูกถ้อยคำเป็นสำนวนภาษิตเตือนใจว่า |
|
โอ้กระแสแควเดียวทีเดียวหนอ |
|
มาเกิดก่อเกาะถนัดสกัดหน้า |
ต้องแยกคลองออกเป็นสองทางคงคา |
|
นี่ฤาคนจะมิน่าเป็นสองใจ
|
|
|
|
|
นอกจากนี้สุนทรภู่ยังเป็นคนที่รักธรรมชาติเมื่อถึงสีกุกได้กล่าวชมนก
ชมปลา ได้อย่างเห็นภาพพจน์ อริยาบถของนกยางดังนี้ |
|
ปักษาโบยปีกลงดินเดิน |
|
มัจฉาเพลินผุดพล่านในคงคา |
นกยางเลียบเหยียบปลานักขาหยิบ |
|
เอาปากจิกบินฮือขึ้นเวหา
|
กระทุงน้อยลอยทวนนาวามา |
|
โอ้ปักษาเอ๋ยจะลอยไปถึงไหนไป |
หน้าวังหรือจะสั่งด้วยนะนก |
|
ให้แนบอกของพี่รู้ว่าโหยให้ |
|
|
|
|
สุนทรภู่เป็นนักเดินทางท่านบันทึกเส้นทางในการเดินทางได้อย่างละเอียดและถูกต้องโดยเฉพาะที่บางไทร
คำว่าราชครามเกาะใหญ่ ถ้าโดยทั่วไปจะนึกว่าราชครามเป็นเกาะใหญ่แต่ไม่ใช่เพราะข้อมูลที่ค้นพบพอสรุปได้ว่า
บางไทรมีลำน้ำสามแยกฝั่งตรงข้ามราชครามจะเรียกว่า เกาะใหญ่ ซึ่งมีเจดีย์เก่า
ๆ อยู่ เกาะทางซ้ายมือมีวัดชื่อวัดสนามชัย ทางแยกเข้าไปคือสีกุกทั้ง
3 สถานที่ ปัจจุบันอยู่ ตำบลราชคราม อำเภอบางไทร จังหวัดอยุธยา
|
|
|
|
|