การพัฒนานวัตกรรม |
|
|
|
|
|
ช่วงที่ 1: การพัฒนานวัตกรรม
การค้นคว้าการเรียนรู้แบบต่างๆไม่เฉพาะแต่การเรียนแบบ Project
Approach, Project – Based Learning แต่เพียงต่างเดียว แต่ทฤษฎีอื่นๆทั้งที่กล่าวอ้างไว้และไม่ได้กล่าวอ้างไว้ในการเรียนแบบ โครงงาน เช่น ทฤษฎี Brain – Based
Learning, Inquiry – Based Learning, Cooperative Learning,
Problem – Based Learning ฯลฯ ทั้งจากหนังสือ และ อินเตอร์เน็ต |
|
ทฤษฎีกระบวนการเรียนรู้ต่างๆ |
|
- การวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกับครูผู้สอน
นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อดี ข้อเสียที่จะเกิดขึ้นถ้าเราจะนำทฤษฎีการเรียนรู้แบบต่างๆมาใช้ พร้อมกับวิเคราะห์สภาพความพร้อมของครู นักเรียน และ โรงเรียน เพื่อนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการสร้างการเรียนรู้แบบโครงงานแบบไผทอุดมศึกษาแล้วนำมาออกแบบ Graphic
Organization Model ของกระบวนการเรียนรู้ ได้เป็น 2 แบบ |
|
|
|
การพัฒนา Project
Approach in Patai’s Style
จากข้อมูลที่ได้ทั้งหมดได้ถูกพัฒนาเป็นรูปแบบของไผทอุดมศึกษา |
Project Approach in
Patai’s
Styles
|
|
- อบรมครูเรื่องกระบวนการเรียนแบบโครงงานตามแบบโรงเรียนไผทอุดมศึกษา
ประชุมชี้แจงและอธิบายให้ครูเข้าใจในกระบวนการเรียนแบบโครงงานที่พัฒนาขึ้น
|
|
|
|
|
 |
.................................. |
 |
|
|
- การประชุมแผนงานร่วมกับครูที่รับผิดชอบ
ประชุมครูผู้รับผิดในแต่ละระดับชั้นเพื่อให้แน่ใจว่าครูเข้าใจ
กระบวนการอย่างถ่องแท้
|
|
 |
|
|
- การทำแผนการสอน เตรียมการสอนและการกำหนดการประเมินผล
ประชุมร่วมกันทั้งฝ่ายวิชาการ, นวัตกรรมและครูผู้สอนแต่ละระดับชั้น
เพื่อทำแผนการสอนและกำหนดกรอบของกิจกรรม ครูเขียนแผนตาม
รูปแบบใหม่ที่พัฒนาขึ้น (รายละเอียดโครงสร้างแผนการสอนอยู่ใน
CD – ROMที่แนบมาด้วย) จากนั้นผู้สอนจัดการเตรียมอุปกรณ์
และสื่อการสอนต่างๆตามแผน
|
 |
|
|
|
|
|
|
ช่วงที่ 2: การลงมือปฏิบัติจริง
- การดำเนินการเรียนการสอนแบบProject
Approach
เพื่อให้ครูและนักเรียนเข้าใจวิธีการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ง่ายขึ้น โรงเรียนจึงจัดกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และจัดคาบเรียนแบบ Blocking
periods ระยะเวลา 5 วัน (35 คาบ) ดำเนินการเรียนการสอนให้ทั้งครูและนักเรียนอื่นๆได้ดู และจัดนักเรียนชั้นมัธยมทั้งหมดเป็นกลุ่มตัวอย่างที่ 2 จัดคาบเรียนแบบ Blocking
periods ระยะเวลา 5 วัน (35 คาบ) เพื่อให้ครูและนักเรียนเข้าใจมากขึ้น
ระดับชั้นอื่นๆดำเนินการเรียนการสอนตามตารางสอนปกติตามแผนการสอนที่วางไว้
กำหนดให้แต่ละระดับชั้นทำโครงงานดังนี้ |
|
ระดับชั้น |
Project |
ระดับชั้น |
Project |
ประถมศึกษาปีที่ 1 |
4 |
ประถมศึกษาปีที่ 6 |
2 |
ประถมศึกษาปีที่ 2 |
4 |
มัธยมศึกษาปีที่ 1 |
2 |
ประถมศึกษาปีที่ 3 |
4 |
มัธยมศึกษาปีที่ 2 |
2 |
ประถมศึกษาปีที่ 4 |
3 |
มัธยมศึกษาปีที่ 3 |
2 |
ประถมศึกษาปีที่ 5 |
3 |
|
|
|
|
|
|
o การติดตามและประเมินผล
- จัดให้มีการประชุมครูผู้รับผิดชอบทุกสัปดาห์เพื่อนำปัญหาที่เกิดขึ้นมาช่วยกัน วิเคราะห์และแก้ไข นอกจากนี้ยังเป็นโอกาสให้ครูผู้สอนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เพราะการเรียนรู้แบบนี้เป็นการเรียนแบบบูรณาการครูผู้รับผิดชอบทุกคนจะมีแต่ความเข้าใจ
หรือความรู้ในสาขาตนเองเท่านั้นไม่ได้
- การประเมินผลของนักเรียน กำหนดเป็น 2 ระยะ ช่วงกลางของระยะเวลาเรียนทั้งหมดที่กำหนดไว้ และช่วงสรุปหรือนำเสนอผลงาน
- นักเรียนประเมินตนเองและโครงการเมื่อจบโครงงาน
|
|
 |
|
|
|
|
ช่วงที่ 3: การพัฒนาให้ดีขึ้น
- การประเมินโครงการ
- ประชุมครูผู้สอนทั้งหมดในวันเสาร์สุดท้ายของเดือนเพื่อสรุปการดำเนินโครงการและปัญหา
- ประชุมปัญหาการเรียนการสอนแบบโครงงานเมื่อจบภาคการศึกษา
- ครูทำแบบประเมินตนเองในการดำเนินการสอนแบบโครงงานเมื่อจบภาคการศึกษา
|
|
 |
|
|
|
|